วันอาทิตย์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

คลื่นนิ่ง (Standing wave)



คลื่นนิ่ง (Standing wave)


              คือ การแทรกสอดของคลื่นต่อเนื่อง 2 ขบวนที่เกิดจากแหล่งกำเนิดอาพันธ์ ซึ่งเคลื่อนที่เข้าหากันในตัวกลางเดียวกัน ทำให้เราเห็นตำแหน่งบัพและปฏิบัพที่เกิดขึ้นมีตำแหน่งที่อยู่คงที่แน่นอน ไม่มีการย้ายตำแหน่งจะเห็นว่าบางตำแหน่งไม่มีการสั่นเลย เราเรียกจุดนี้ว่าจุดบัพ (Node) และมีบางตำแหน่งที่สั่นได้มากที่สุดเราเรียกจุดนี้ว่า ปฏิบัพ (Antinode)




รูปแสดงการเกิดคลื่นนิ่ง
ที่มา : http://www2.pm.ac.th/wave/standing.html 

สิ่งสำคัญเกี่ยวกับคลื่นนิ่ง คือ




 รูปแสดงการเกิดคลื่นนิ่ง 
ที่มา : http://www2.pm.ac.th/wave/standing.html


คลื่นนิ่งจากปลายตรึงทั้งสองข้าง (Two fixed end) 


รูปแสดงคลื่นนิ่งจากปลายตรึงทั้งสองข้าง

ที่มา : http://www2.pm.ac.th/wave/standing.html


คลื่นนิ่งจากปลายอิสระทั้งสองข้าง (Two free end)




รูปแสดงคลื่นนิ่งจากปลายอิสระทั้งสองข้า
ที่มา : http://www2.pm.ac.th/wave/standing.html




รูปแสดงคลื่นนิ่งจากปลายตรึงทั้งสองข้าง
ที่มา : http://www2.pm.ac.th/wave/standing.html



เขียนเป็นความสัมพันธ์ได้ว่า

โดย n คือจำนวน loop หรือ Antinode
L คือความยาวเชือก (หรือลวด)
จำนวน Node = จำนวน loop + 1
หาความถี่ได้จาก


แหล่งข้อมูล : http://www2.pm.ac.th/wave/standing.html

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น